อุซเบกิสถาน แก้รธน.ปฏิรูปประเทศ ประชาชน50,000ร่วมเสนอความเห็น

คณะกรรมการร่างรัฐธรรมนูญพิจารณาข้อเสนอะแนะต่าง ๆ ในการปฎิรูปรัฐธรรมนูญ ความคิดในการการแก้ไขปฏิรูปรัฐธรรมนูญของอุซเบกิสถานไม่ได้จู่ ๆ ก็เกิดขึ้นมา เนื่องในโอกาสเฉลิมฉลองครบรอบ 29 ปี วันรัฐธรรมยูญเมื่อช่วงเดือน ธ.ค. 2564 และอยู่ในช่วงระหว่างการพัฒนาแผนยุธศาสตร์ชาติอุซเบกิสถาน ปี พ.ศ. 2565-2569

ในช่วงระหว่างการแถลงการณ์ถึงประชาชนและรัฐสภานั้น ประธานาธิบดีแห่งสาธารณรัฐอุซเบกิสถาน กล่าวสรุปถึงทิศทางในการแก้ไขรัฐธรรมนูญ โดยเน้นย้ำว่าต้องมีการปฏิรูปในทุก ๆ ด้าน นับว่า การปฏิรูปรัฐธรรมนูญเป็นประเด็นที่มีความสำคัญอย่างมาก โดยที่ขณะนี้ ผู้คนจากทุกภาคส่วนไม่ว่าจะประกอบอาชีพอะไร ไม่ว่าจะเป็นหมอ ทนายความ นักวิทยาศาสตร์ และนักวิชาการทั้งจากภาคเอกชนและอค์กรสาธารณะ กำลังเสนอให้มีการแก้ไขรัฐธรรมนูญ ซึ่งแสดงให้เห็นถึงความจำเป็นเร่งด่วนในการแก้ไขรัฐธรรมนูญ

โดยสิ่งที่ได้เห็นเป็นประจักษ์ชัดเจนว่า ภายในช่วงระยะเวลาสั้น คณะกรรมการร่างรัฐธรรมนูญ ได้รับข้อเสนอแนะเกี่ยวกับการแก้ไขปฏิรูปรัฐธรรมนูญมากถึงห้าหมื่นข้อ ซึ่งส่วนมากเป็นข้อเสนอที่เสนอโดยเยาวชน แสดงให้เห็นว่าเยาวชนไม่ได้นิ่งเฉยต่อสถานการณ์บ้านเมือง การดำเนินการปฏิรูป รวมถึงเริ่มมีส่วนเกี่ยวข้องในการพัฒนาอนาคตของประเทศ และความมั่งคั่งของประเทศ

ก่อนอื่น สิทธิมนุษยชนและเสรีภาพนั้นคือสิ่งที่ควรคำนึงเป็นพิเศษ ภายใต้แนวคิดที่ว่า “คนคือสินทรัพย์ที่มีค่าที่สุด” ซึ่งได้ยึดถือเป็นหลักสำคัญไว้ และควรที่จะเปลี่ยนรัฐธรรมนูญตามแบบแผนที่ว่า “สิทธิมนุษยชนขั้นพื้นฐานและเสรีภาพนั้นอยู่ไม่สามารถตัดออกหรือรุกล้ำ และมีอยู่กับทุกคนตั้งแต่เกิดมา”

ในขณะเดียวกัน ตามหลักขั้นพื้นฐานของแนวคิด “คน-สังคม-รัฐ” ได้นำเข้ามาใน แผนยุทธศาสตร์พัฒนาประเทศสำหรับปี พ.ศ. 2565-2569 ได้นำมาเพิ่มพูนสถานะ หน้าที่ ความรับผิดชอบของรัฐที่มีต่อคนและสังคมด้วย

การจัดการการคอรัปชั่นถือเป็นอีกหนึ่งความสำคัญของการปฏิรูป ซึ่งสะท้อนผ่านจำนวนข้อเรียกร้องที่นำส่ง

โดยทั่วไปแล้ว ข้องเรียกร้องต่าง ๆ กล่าวถึงประเด็นในด้านระบบตุลาการ การศึกษา การปกป้องแรงงานและทรัพสิน นโยบายต่างประเทศสิทธิทางการเมืองและด้านอื่น ๆ ซึ่งแต่ละด้านอยู่ภายใต้การวิเคราะห์เชิงลึกของคณะกรรมการร่างรัฐธรรมนูญ

EACH PROPOSAL IS CONSIDERED BY THE CONSTITUTIONAL COMMISSION

The idea of reforming the Constitution of the Republic of Uzbekistan did not arise suddenly.
In his address to the people and Parliament on the occasion of the 29th anniversary of the Constitution in December 2021, the President of the Republic of Uzbekistan and in the Development Strategy of Uzbekistan for 2022-2026 outlined the main directions of constitutional reforms, noting that the period itself requires reforms in all spheres.
It was out of this vital necessity that constitutional reforms were initiated. Currently, thousands of people from all walks of life, including lawyers, professors, scientists, intellectuals, non-governmental and public organizations, are proposing amendments to the Constitution. This in itself shows how relevant constitutional reforms are.

To make it clear, in a short time, the Constitutional Commission received more than 50 thousand proposals (as of 20 June 2022). It is noteworthy that most of the proposals were made by youth. This, in turn, indicates that the younger generation is not indifferent to the fate of the country, the ongoing reforms, the growing sense of involvement in the future development and prosperity of the country.

First of all, it should be noted that special attention is paid to human rights and freedoms. On this basis, the principle of “Man is the highest value” is put forward as a priority, and it is advisable to fix in the Constitution the norm that “fundamental human rights and freedoms are inalienable and inviolable and belong to everyone from birth. ”
At the same time, on the basis of the principle of “Man – society – state”, put forward in the country’s Development Strategy for 2022-2026, it is proposed to further increase the status, duties and responsibilities of the state to man and society.
The fight against corruption is also one of the priorities of reforms, which is reflected in a number of proposals.
In general, proposals continue to be received on the judicial system, education, labor and property protection, foreign policy, political rights and a number of other issues. Each of them is under in-depth analysis by the Constitutional Commission.
Mr. Nariman UMAROV,
Chairman of the Committee on Judicial Issues and Anti-Corruption of the Senate of the Oliy Majlis (Parliament) of Uzbekistan.